มาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพ

Institutional biosafety & Biosecurity

แบบฟอร์ม

ขอรับพิจารณา IBC

กระบวนการ

การพิจารณา IBC

ปฏิทินรายปี

ช่วงเวลาในการ
รับพิจารณา

อบรมออนไลน์

E-Training จาก biotec

กฎหมาย

พรบ. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข

โครงการใดบ้าง ที่ต้องผ่านการพิจารณาจาก iBC?

โครงการดังต่อไปนี้ ต้องขอการรับรองจากคณะกรรมการควบคุมความปลอดภัยทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ก่อนดำเนินงานวิจัย เพื่อให้การดำเนินการวิจัยในห้องปฏิบัติการทางชีวภาพเป็นไปด้วยความปลอดภัยทั้งต่อผู้ปฏิบัติงาน ชุมชน และสิ่งแวดล้อม

เชื้อโรค พิษจากสัตว์

ทั้งจุลินทรีย์ พืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม

ประเภทของกลุ่มงานวิจัย

ในการขอรับรองความปลอดภัยนั้นจะพิจารณาจากระดับความอันตรายของลักษณะการทดลองและการวิจัย แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

อันตรายน้อย

งานวิจัยและทดลองที่มีความเสี่ยงหรืออันตรายน้อย

อันตรายปานกลาง

งานวิจัยและทดลองที่มีความเสี่ยงหรืออันตรายปานกลาง

อันตรายสูง

งานวิจัยและทดลองที่มีความเสี่ยงหรืออันตรายสูง หรือมีอันตรายในระดับไม่ทราบแน่ชัด

อันตรายร้ายแรง

งานวิจัยและทดลองที่มีความเสี่ยงหรืออันตรายร้ายแรง

แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ

ส่วนงานมาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพของ สวส. ดำเนินงานตามมาตรฐานสากล

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ

สำหรับการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่
(BIOSAFETY GUIDELINES for Modern Biotechnology)

CDC

Biosafety in Microbiological and Biomedical Laboratories 6th Edition (CDC)

WHO

Laboratory Biosafety Manual 4th Edition

คณะกรรมการควบคุมความปลอดภัยทางชีวภาพ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยมีหน้าที่ในการพิจารณาและตรวจสอบการดำเนินงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพในระดับสถาบัน ให้คำปรึกษาการดำเนินกิจกรรมแก่หัวหน้าโครงการในการดำเนินงานวิจัยให้เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

Department of Medical Sciences

Learn More about Biosafety

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ประกาศเกี่ยวกับหลักปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานมาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพ